เทคนิคการแพทย์นอกห้องเรียน/นอกห้องแล็บ…การค้นหาโรคเชิงรุก??

โดย : ผศ.ดร.เพ็ญโฉม จันทร์หวาน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในปีล่าสุด พ.ศ. 2565 ทางทีมคณาจารย์ได้นำนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 2 ไปจัดกิจกรรมบริการวิชาการเรื่องโรคพยาธิเข็มหมุด ณ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดท่าสูงบน ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดท่าสูง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระบัว โดยกิจกรรมประกอบด้วยการดำเนินการเก็บตัวอย่างด้วยวิธี Scotch tape technique การตรวจสไลด์พยาธิเข็มหมุดทางห้องปฏิบัติการภายใต้กล้องจุลทรรศน์ การให้ยารักษาโรคพยาธิเข็มหมุดแก่เด็กนักเรียนที่ตรวจพบการติดเชื้อ และการทำสื่อให้ความรู้ในการป้องกันดูแลให้เด็กห่างไกลโรคพยาธิแก่ทางคุณครูและผู้ปกครอง โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดให้มีโครงการบริการวิชาการเรื่องโรคพยาธิเข็มหมุดนี้ […] Read More

ท่าบริหารสะโพก

7 ท่าบริหาร กล้ามเนื้อสะโพกคลายปวดเมื่อยในชีวิตประจำวัน

“ปวดตึงสะโพก” อาการปวดยอดฮิตของคนชอบนั่งนานๆ ๐ กลุ่มอาการกล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท (Piriformis Syndrome) สามารถเกิดขึ้นได้ในคนหลายๆกลุ่ม โดยเฉพาะคนที่นั่งทำงานนานๆ ในออฟฟิศ พนักงานขับรถ หรือคนที่นั่งทำงานออนไลน์เป็นระยะเวลานานๆ รวมถึงคนที่เคลื่อนไหวสะโพกมากเกินไป เช่น ออกกำลังกายหนักๆ นักวิ่ง นักปั่นจักรยาน ๐ โดยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อสะโพกหนีบเส้นประสาท เป็นความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและเส้นประสาท เกิดจากกล้ามเนื้อ Piriformis ซึ่งอยู่ตำแหน่งบริเวณก้นใกล้สะโพกด้านหลังเกิดการหดเกร็งตึง ทำให้ไปดึงรั้งกดทับเส้นประสาท Sciatic ที่อยู่ใกล้กัน […] Read More

“ทุเรียน” กับความเชื่อผิดๆ ต่อสุขภาพ

“ทุเรียน” กับความเชื่อผิดๆ ต่อสุขภาพ ทุเรียนมีคอเลสเตอรอลสูง ทุเรียนเป็นพืช เป็นผลไม้ ส่วนคอเลสเตอรอลที่พบจากอาหารมาจากไขมันอิ่มตัว เช่น เนื้อสัตว์ ไขมันจากสัตว์ เครื่องใน อาหารทะเล และอาหารที่ทำจากนมทั้งหลาย ดังนั้นที่บอกว่าทุเรียนมีคอเลสเตอรอลสูงนั้นไม่จริง แต่ทุเรียนมีไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว และมีน้ำตาลสูง น้ำตาลเป็นองค์ประกอบหลักของทุเรียน นอกจากนี้ ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณอาหารเพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กับพลังงานโดยรวมด้วย เมื่อเรารับพลังงานมากเกินไปร่างกายก็จะสะสมและสร้างคอเลสเตอรอลให้สูงขึ้นได้ เพราะทุเรียน 100 กรัม ให้พลังงานถึง […] Read More

กินน้อย ชะลอวัย

กินน้อย ชะลอวัย จริงหรือ?

31 มกราคม 2566 บทความโดย ผศ.ดร.จิรพรรณ ทองสร้อย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นเรื่องที่ผู้คนให้ความสนใจกันมาซักพักหนึ่งแล้วว่า การกินอาหารแต่น้อย หรือการอดอาหาร จะทำให้มีอายุที่ยืนยาวได้จริงหรือไม่ และเรื่องนี้ยิ่งกลับมาเป็นกระแสที่มีผู้คนให้ความสนใจกันมากขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อมีคุณหมอชาวญี่ปุ่นออกมาเผยข้อมูลที่ทำให้เราต้องตาโตด้วยความแปลกใจที่ว่า “ยิ่งเราปล่อยให้ท้องหิว จะยิ่งอ่อนเยาว์ สุขภาพดี” แล้วเรื่องนี้จะจริงหรือเท็จอย่างไร? มาอ่านกันค่ะ… เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการวิทยาศาสตร์ เพราะเป็นที่ทราบกันมาหลายทศวรรษแล้วว่า การอดอาหาร จะช่วยทำให้สิ่งมีชีวิตต่างๆมีอายุที่ยืนยาวขึ้น โดยการมีอายุยืนยาวจะถูกควบคุมด้วยยีนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า […] Read More

ธรรมชาติกับชีวิต สิ่งมีชีวิตโดยปัจจุบันนี้ยังคงต้องพึงพากับธรรมชาติ หลายคนคงสงสัยว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ธรรมชาติกับชีวิต ธรรมชาตินั้น มีความสำคัญ ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมาก การที่มีธรรมชาติ จึงทำให้มี สิ่งชีวิตเกิดขึ้น เพราะธรรมชาติ สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง ให้เกิดขึ้นทั้งนั้น เราจึงมีชีวิตอยู่ได้ หากบนโลกนี้ ไม่มีธรรมชาติ การมีชีวิตอยู่ก็คงเป็นไปไม่ได้ ธรรมชาติ สร้างสรรสิ่งต่างๆ มากมายบนโลกในนี้ หากพูถึงธรรมชาติ คนเราก็จะนึกถึง ต้นไม้ ใบไม้ ภูเขา ทะเล และสายน้ำ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ มีความงดงาม […] Read More

เคยสงสัยหรือไม่ว่า..หมู่เลือดของเราส่งผลต่อการเกิดโรคที่ต่างกันอย่างไร?

โดย อาจารย์ ดร.นวลพรรณ แสงเพชร หมู่เลือด ABO จำแนกตามจากการแสดงออกของแอนติเจน (A และ B) บนผิวเม็ดเลือดแดงร่วมกับการมีแอนติบอดีต่อแอนติเจนที่ไม่มีในซีรัม การแสดงออกของแอนติเจนควบคุมด้วยยีนสร้างเอนไซม์ N-acetylgalactosaminyl transferase และ galactosyl transferase นำน้ำตาลสำหรับสร้างแอนติเจน A และ B ตามลำดับมาเติมบนแอนติเจน H ที่ต่อกับโปรตีน (รวมเรียกว่า […] Read More

สัตว์เลี้ยงช่วยฮีลใจ ได้จริงหรอ?

          ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องเผชิญกับความกังวล ความเครียดกับสถานการณ์โควิด-19 หรือจากการทำงานต่างๆ ทำให้บางคนมีสุขภาพจิตแย่ลง การเริ่มต้นเลี้ยงสัตว์จึงเป็นตัวเลือกหนึ่งสิ่งที่จะนำพามาซึ่งสุขภาพจิตที่ดีในอนาคต เพราะมีรายงานการศึกษาพบว่า สัตว์เลี้ยงในบ้านอย่าง สุนัข แมว นก หรือปลา หรือสัตว์อื่น ๆ นอกจากเป็นเพื่อนคนสำคัญของมนุษย์อย่างเราๆ แล้ว สัตว์เลี้ยงยังมีบทบาทในการช่วยบำบัด ช่วยในการผ่อนคลายอารมณ์ ดีทั้งสุขภาพใจและสุขภาพกาย เวลาที่เหนื่อยมาก เศร้ามาก […] Read More

อาหาร 4 สี ช่วยลดน้ำหนักได้แน่นะวิ ??

          สำหรับบางคนที่มองว่าวิธีลดน้ำหนัก แบบ IF หรือ Intermittent Fasting หักโหมเกินไป ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตนเอง เนื่องจาก IF เป็นวิธีการลดน้ำหนักด้วยรูปแบบการรับประทานอาหารโดยกำหนดช่วงเวลาในการอดอาหาร (Fasting) และรับประทานอาหาร (Feeding) วันนี้จึงมีวิธีง่าย ๆ ที่ทุกคนสามารถทำตามได้มาแนะนำค่ะ นั่นก็คือสูตรลดน้ำหนักด้วยการทานอาหารลดน้ำหนัก ซึ่งแบ่งเป็นอาหาร 4 […] Read More

สปาใจออนไลน์

จากสภาพสังคมปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันสูง ทั้งในด้านการทำงาน การเรียน และอื่นๆ ความวุ่นวายเหล่านี้ทำให้แต่ละวันของชีวิต แทบไม่มีเวลาได้พบปะพูดคุยกับใคร แม้แต่กับหัวใจตัวเอง รวมไปถึงปัญหาแปลกใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในสังคมทั้งที่ควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้ ล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล และสะสมจนเกิดเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่บางครั้งเราต่างโหยหาความสงบสุขในชีวิตด้วยการผ่อนคลายรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะดูหนัง ฟังเพลง การรับประทานอาหารนอกบ้านกับใครสักคนที่รู้ใจ การได้ออกไปท่องเที่ยวเยี่ยมชมธรรมชาติที่สวยงาม หรือแม้กระทั่งการทำสปาในหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้มีเวลาสักช่วงหนึ่งที่เราไม่ต้องกดดันตัวเอง เป็นช่วงเวลาที่เราจะได้ยึดเหยียดร่างกายให้ผ่อนคลายสบายใจ

ยาไทย

ยาไทยใกล้ตัว ในครัวบ้านเรา

1 ตุลาคม พ.ศ.2565 บทความโดย อาจารย์ปาลิกา เวชกุลสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์แผนไทยประยุกต์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในยุคปัจจุบันมีการนำเอาสมุนไพรไทยกลับมาใช้ในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น เช่น ปวดเมื่อยร่างกาย เจ็บคอ ไข้ หวัด คัดจมูก อาการภูมิแพ้อากาศยามเช้า หรือแดดเผาผิวในตอนกลางวัน ตลอดจนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคไขมัน เป็นต้น ซึ่งในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ยังมีการนำสมุนไพรไทยมาใช้ทั้งเพื่อป้องกัน รักษา […] Read More

อาหาร 3 มื้อ แค่ปรับก็เปลี่ยน

อาหาร 3 มื้อ แค่ปรับก็จะเปลี่ยน

อาหาร 3 มื้อ เป็นสิ่งที่ทุกคนรับรู้ว่าจำเป็นต้องกินให้ครบร่างกายถึงจะได้รับประโยชน์สูงสุด แต่ทุกท่านเคยสังเกตตัวเองบ้างหรือไม่ว่าในแต่ละวัน “คุณกินอาหารครบ 3 มื้อหรือไม่” เพราะการละเลยอาหารในแต่ละมื้ออาจทำให้คุณทำงานได้ไม่คล้อง หงุดหงิดง่าย อ่อนเพลีย สิ่งเหล่านี้คือสัญญาณเตือนว่าคุณควรเพิ่มพลังจากการกินอาหารแล้ว

การทดสอบสารไล่ยุง (Mosquito Repellent Evaluation)

โดย อาจารย์ ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ‘ยุง’ เป็นแมลงที่เป็นปัญหาของระบบสาธารณสุขทั่วโลก นอกจากสร้างความรำคาญแล้ว ยังเป็นพาหะของโรคติดเชื้อหลายชนิด เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคเท้าช้าง ฯลฯ การควบคุมยุงพาหะจึงเป็นวิธีการสำคัญเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว โดยวิธีการที่ง่ายที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้ยุงกัดด้วย ‘สารไล่แมลง’ (repellent) ซึ่งในท้องตลาดมีผลิตภัณฑ์ไล่แมลงวางจำหน่ายหลากหลายรูปแบบ โดยอาจเป็นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืช อย่างไรก็ตาม […] Read More