เท้า...อวัยวะที่ต้องใส่ใจ

เท้า…อวัยวะที่ต้องใส่ใจ

30 เมษายน 2566 บทความโดย ดร. ปรเมท เหมรชตนนท์อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน สิ่งที่เราอาจจะมองข้ามโดยไม่ได้คำนึงถึงมากนัก  แต่สิ่งที่แต่ละท่านได้มองข้ามไปนั้น ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่ไม่น้อยไปกว่าสิ่งอื่นใดในขณะการดำเนินชีวิต นั่นคือ ส่วนที่เรียกว่า เท้า  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีหน้าที่คอยรับน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เช่น การเดิน วิ่ง เป็นต้น เพื่อนำพาร่างกายไปทำงานหรือการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการออกกำลังกาย หรือบางอาชีพที่ต้องใช้เป็นส่วนหลักของการทำงาน […] Read More

สหกิจศึกษา 8 เดือน ทางเลือกหรือทางรอดในสถานการณ์ปัจจุบัน

สหกิจศึกษา 8 เดือน ทางเลือกหรือทางรอดในสถานการณ์ปัจจุบัน           สวัสดีครับท่านผู้อ่าน ก่อนจะไปถึงการวิเคราะห์ว่า สหกิจศึกษา 8 เดือน จะเป็นทางเลือกหรือทางรอดในสถานการณ์ปัจจุบัน นั้นเราอาจจะต้องทราบถึงนิยามหรือความหมายของสหกิจศึกษากันก่อนว่า สหกิจศึกษา หมายถึงอะไร  สหกิจศึกษา  หมายถึง  การศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานในหน่วยงาน ซึ่งเรียกว่า สถานประกอบการหรือองค์กรผู้ใช้บัณฑิต อย่างเป็นระบบก่อนสำเร็จการศึกษา ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการระหว่างการเรียนการสอนกับการทำงานอย่างเป็นระบบ (Work […] Read More

ช้างกระดูกผิดรูปเกิดจากการเบิกนักท่องเที่ยวมา 25 ปี จริงหรือไม่??

สาเหตุของช้างกระดูกผิดรูป มีอะไรบ้าง ? มาวิเคราะห์กัน!!!

เรามาตามติดวิเคราะห์กันต่อกับกรณีช้างกระดูกผิดรูปหลังแบกนักท่องเที่ยวมายาวนาน 25 ปี ช้างเป็นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีความสามารถในการลากจูงของหนักๆได้มากกว่า 1 ตัน แต่ความสามารถในการแบกน้ำหนักนั้นทำได้แค่เพียง 300-400 กิโลกรัมเท่านั้น เนื่องจากลักษณะของสันหลังมีลักษณะเป็นสันขึ้นมา ไม่ได้แบนเพื่อรองรับน้ำหนักโดยตรงแต่อย่างใด ดังนั้นการออกแบบ “แหย่ง” สำหรับบรรทุกคนหรือของ จะถูกออกแบบให้มีรูปทรงดังภาพ เพื่อมิให้ไปกดทับกระดูกสันหลัง ซึ่งช้างอาจจะเจ็บและไม่ยอมให้บรรทุกบนหลังอีกต่อไป นอกจากนี้ควาญช้างยังใช้เปลือกไม้ / ผ้าหนา / กระสอบ เอามารองบนตัวช้างก่อนอีกหลายชั้นเพื่อมิให้ช้างเจ็บและเกิดความกระชับยิ่งขึ้นในการมัดหรือยึดกับตัว ซึ่งหากไม่รองเอาไว้ […] Read More

ความเชื่อเรื่องเจ้าเมืองกับวันสงกรานต์นครศรีธรรมราช

ภาพการแสดงแสงเสียงชุด “นางดาน อลังการเมืองนคร” จากเฟซบุ๊กแฟนเพจ “TAT : Nakhon Si Thammarat + Phatthalung” วันที่ ๑๓-๑๕ เมษายนที่เราคนไทยถือเป็นวันสงกรานต์นั้น ที่ภาคกลางจะมีชื่อเรียกวันต่าง ๆ ในเทศกาลนี้แตกต่างกันไป ได้แก่ วันที่ ๑๓ เมษายน เรียกว่า “วันมหาสงกรานต์” วันที่ ๑๔ […] Read More

เทคนิคการตั้งชื่อไฟล์อย่างไรให้หาเจอ!!!

          สำหรับในการค้นหาไฟล์ข้อมูลต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำงาน  การตั้งชื่อไฟล์ให้สื่อความหมาย  ค้นหาได้ง่าย    และรวดเร็วถือว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก  ยิ่งปริมาณไฟล์ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานมีปริมาณไฟล์ข้อมูลจำนวนมาก ๆ ยิ่งทำให้ใช้เวลาในการค้นหาเป็นเวลานาน  สำหรับบทความนี้ขอแนะนำเทคนิคการตั้งชื่อไฟล์งานอย่างไรให้หาเจอได้อย่างรวดเร็ว  และสามารถสื่อเข้าใจได้ว่าเป็นไฟล์งานเกี่ยวกับเรื่องอะไร  โดยมีเทคนิคการในการตั้งดังนี้ 1.  ชื่อไฟล์ต้องสื่อถึงงานนั้นๆ ชัดเจน ตรงประเด็น          ข้อมูลในไฟล์นั้นเป็นงานเกี่ยวกับเรื่องอะไรให้ตั้งชื่อเกี่ยวกับงานนั้นให้ชัดเจน ห้ามใช้คำกลาง ๆ […] Read More

เด็กกิจกรรม

เด็กกิจกรรมกับข้อได้เปรียบด้าน Soft Skills

          Soft Skill  เป็นทักษะที่มีความสำคัญที่จะช่วยให้นักศึกษาทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อความสำเร็จของงานต่างๆตามมา เป็นความสามารถที่ไม่เกี่ยวข้องกับความสามารถทางด้านเทคนิค แต่เป็นความสามารถและทักษะทางด้านอารมณ์ อุปนิสัย ความคิด หรือความสามารถในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงวุฒิภาวะทางอารมณ์ของแต่ละบุคคล 6 ทักษะด้าน Soft Skill  ที่เป็นข้อได้เปรียบของเด็กกิจกรรม เป็นทักษะในการเรียนรู้เพื่อที่จะปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆและผู้คนหลากหลาย รวมไปถึงเทคโนโลยี องค์ความรู้และสภาพแวดล้อมต่างๆ อีกด้วย ดังนั้น […] Read More

เฝ้าระวังนักเรียน อาจเข้าข่ายเป็นโรคย้ำคิดย้ำทำ

อาจไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรที่เราจะเห็นนักเรียนทำพฤติกรรมซ้ำ ๆ โดยไม่จำเป็นในบางโอกาส แต่มันจะเป็นปัญหาแน่นอนเมื่อการทำอะไรซ้ำ ๆ นั้น มากระทบกระเทือนการใช้ชีวิตประจำวัน พฤติกรรมอย่างเช่น เข้าออกประตูหลายครั้ง เพราะกังวลว่าจะหลงลืมที่จะปิดไฟหรือปิดน้ำ ทั้ง ๆ ที่ก็ได้ตรวจตราดูดีแล้ว หรือพฤติกรรมที่ชอบล้างมือบ่อยครั้งเพราะคิดว่าไม่สะอาด ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ เกิดขึ้นจากความวิตกกังวลและยังเป็นผลมาจากความผิดปกติในสมองอีกด้วย โรคย้ำคิดย้ำทำ (Obsessive-Compulsive Disorder – OCD) คือ ภาวะความวิตกกังวลอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นจากความบกพร่องในการทำงานของระบบประสาทในสมอง ทำให้สมองส่วน […] Read More

ต้นไม้ สวนและป่า ในสมัยพุทธกาลที่มีความเกี่ยวข้องกับพุทธประวัติซึ่งนำมาประมวลไว้ ดังนี้

ต้นไม้      ๑. ปาริฉัตตก์ คือต้นทองหลาง เป็นชื่อต้นไม้ประจำสวรรค์ชั้นที่ ๒ คือ ชั้นดาวดึงส์ อยู่ในสวนนันทวัน ของพระอินทร์หรือท้าวสักะจอมเทพแห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในพรรษาที่ ๗ ภายหลังตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงเสด็จประทับภายใต้ร่มไม้ปาริฉัตตก์ (หรือปาริฉัตร, ปาริชาต) ณ ดาวดึงสเทวโลก ทรงแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดาตลอดสามเดือนพระพุทธมารดาได้ทรงบรรลุพระโสดาปัตติผล ส่วนเทพยดาในโลกธาตุที่มาประชุมฟังธรรมบรรลุผลสุดที่จะประมาณ      ๒. พหุปุตตนิโครธ ต้นไทรที่อยู่ระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาลันทา ปิปผลิมาณพได้พบพระพุทธเจ้าและขอบวชที่พหุปุตตนิโครธนี้ครั้นบวชล่วงไปแล้ว ๗ วัน […] Read More