Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: สำนักวิชาแพทยศาสตร์

ข้อเข่า
Admin SMD

ข้อเข่ากับการเลือกกิจกรรมเพื่อการออกกำลังกาย

21 มกราคม 2567 บทความโดย ดร. ปรเมท เหมรชตนนท์อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ การดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกายที่มีการเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมนั้น ท่านสามารถเลือกได้หลายหลายรูปแบบ หรือขึ้นอยู่กับความถนัดหรือตามความเหมาะสม อายุ เพศ หรือวัยของแต่ละคน เช่น การปั่นจักรยานตามเส้นทางสุขภาพ การเดินหรือวิ่งเบาๆ หรือบางท่านได้เลือกการเข้าฟิตเนสที่มีอุปกรณ์และเครื่องมือครบถ้วนเพื่อการสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย หรือการลดไขมันเพิ่มกล้ามเนื้อให้มีทรวดทรงร่างกายที่สวยงาม เป็นต้น แต่ในการออกกำลังกายนั้น ไม่ได้มีประโยชน์ต่อสุขภาพเพียงอย่างเดียว แต่ในอีกแง่มุมก็มีโทษหรือความเสี่ยงต่อร่างกายด้วยเช่นกัน ในครั้งนี้ผู้เขียนขอนำเสนอข้อมูลที่ควรพิจารณาในอีกแง่มุมหนึ่ง ที่แต่ละท่านไม่ควรมองข้าม

Read More »
วุ้นตาเสื่อม
Admin SMD

วุ้นตาเสื่อม ไม่ระวังอาจเสียการมองเห็นถาวร

10 พฤศจิกายน 2566 บทความโดย อาจารย์ นพ. จักรกฤษณ์  จูห้องอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิกสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วุ้นตาคืออะไร ? วุ้นตา (vitreous) มีลักษณะเจลใสหนืดคล้ายไข่ขาวอยู่ภายในลูกตาส่วนหลัง มีปริมาตรถึง 4 ใน 5 ของลูกตา ประกอบด้วยน้ำถึง 99% ทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้แสงผ่านไปได้ เลี้ยงเซลล์ต่างๆในลูกตา ตลอดจนทำให้ลูกตาทรงรูปอยู่ได้ ขอบคุณภาพจาก Herbitia วุ้นตาเสื่อม และอาการแสดง

Read More »
ท้องผูก
Admin SMD

เด็กน้อยท้องผูก เรื่องที่ต้องเข้าใจ

2 กันยายน 2566 บทความโดย ผศ.นพ.ชัยวัฒน์ ฤกษ์สวัสดิ์ถาวรอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิกสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นิยามคำว่าท้องผูก ในทางการแพทย์หมายถึงการถ่ายอุจจาระแข็ง หรือมีความยากลำบากในการขับถ่าย หรือถ่ายอุจจาระน้อยกว่า/เท่ากับ 2 ครั้ง/สัปดาห์ แต่สำหรับเด็กทารกแรกเกิดที่กินนมแม่อย่างเดียว คำนิยามดังกล่าวอาจจะใช้ไม่ได้เนื่องจาก ในเด็กทารกเมื่อมีการพัฒนาของลำไส้จนทำงานได้ดีขึ้น ร่างกายของเด็กจะสามารถย่อยนมแม่ได้หมด โดยไม่เหลือกากอาหารไว้สำหรับขับถ่าย ทำให้มีอาการไม่ถ่ายหลายวันได้ ในบางรายอาจจะไม่ถ่ายนานถึง 2-3 สัปดาห์ ถ้าหากถ่ายออกมาแล้วอุจจาระนิ่ม ก็ถือว่าเป็นภาวะปกติไม่ใช่ท้องผูก ขอบคุณภาพจาก

Read More »
เท้า...อวัยวะที่ต้องใส่ใจ
Admin SMD

เท้า…อวัยวะที่ต้องใส่ใจ

30 เมษายน 2566 บทความโดย ดร. ปรเมท เหมรชตนนท์อาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน สิ่งที่เราอาจจะมองข้ามโดยไม่ได้คำนึงถึงมากนัก  แต่สิ่งที่แต่ละท่านได้มองข้ามไปนั้น ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่ไม่น้อยไปกว่าสิ่งอื่นใดในขณะการดำเนินชีวิต นั่นคือ ส่วนที่เรียกว่า เท้า  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของร่างกายที่มีหน้าที่คอยรับน้ำหนักร่างกายทั้งหมด เช่น การเดิน วิ่ง เป็นต้น เพื่อนำพาร่างกายไปทำงานหรือการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในการออกกำลังกาย หรือบางอาชีพที่ต้องใช้เป็นส่วนหลักของการทำงาน

Read More »
กินน้อย ชะลอวัย
Admin SMD

กินน้อย ชะลอวัย จริงหรือ?

31 มกราคม 2566 บทความโดย ผศ.ดร.จิรพรรณ ทองสร้อย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นเรื่องที่ผู้คนให้ความสนใจกันมาซักพักหนึ่งแล้วว่า การกินอาหารแต่น้อย หรือการอดอาหาร จะทำให้มีอายุที่ยืนยาวได้จริงหรือไม่ และเรื่องนี้ยิ่งกลับมาเป็นกระแสที่มีผู้คนให้ความสนใจกันมากขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เมื่อมีคุณหมอชาวญี่ปุ่นออกมาเผยข้อมูลที่ทำให้เราต้องตาโตด้วยความแปลกใจที่ว่า “ยิ่งเราปล่อยให้ท้องหิว จะยิ่งอ่อนเยาว์ สุขภาพดี” แล้วเรื่องนี้จะจริงหรือเท็จอย่างไร? มาอ่านกันค่ะ… เรื่องนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการวิทยาศาสตร์ เพราะเป็นที่ทราบกันมาหลายทศวรรษแล้วว่า การอดอาหาร จะช่วยทำให้สิ่งมีชีวิตต่างๆมีอายุที่ยืนยาวขึ้น โดยการมีอายุยืนยาวจะถูกควบคุมด้วยยีนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีชื่อว่า

Read More »
FI
Admin SMD

เรียนกายวิภาคศาสตร์ผ่านรากศัพท์

15 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 บทความโดย ผศ.ดร.ทิพย์สุดา ทองบัวแก้ว สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์           ตอนเริ่มเรียนกายวิภาคศาสตร์เราอาจจะเจอศัพท์ใหม่ที่ยากและยาวมาก ทำให้เราเดาคำแปลไม่ออก ซึ่งคงปฏิเสธไม่ได้ว่าเป็นอีกหนึ่งอุปสรรคในการเรียน จนหลายคนเริ่มเหนื่อยใจในการท่องศัพท์ แต่อย่าเพิ่งถอดใจเพราะเราสามารถแปลความหมายของคำศัพท์เหล่านี้ได้จาก รากศัพท์ (Root) และหน่วยคำที่เป็นส่วนประกอบของคำศัพท์ (Affix)           คำศัพท์ทางกายวิภาคศาสตร์หลายคำนั้นมีรากศัพท์มาจากภาษากรีก (Greek) และภาษาละติน (Latin) ซึ่งเป็นภาษาที่ถูกใช้ในอดีตและแพร่หลายในวงการวิทยาศาสตร์ หากเรามีความรู้ในเรื่องความหมายของรากศัพท์เหล่านี้ จะทำให้สามารถเดาความหมายของคำศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยได้

Read More »
ยาไทย
Admin SMD

ยาไทยใกล้ตัว ในครัวบ้านเรา

1 ตุลาคม พ.ศ.2565 บทความโดย อาจารย์ปาลิกา เวชกุลสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์แผนไทยประยุกต์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในยุคปัจจุบันมีการนำเอาสมุนไพรไทยกลับมาใช้ในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น เช่น ปวดเมื่อยร่างกาย เจ็บคอ ไข้ หวัด คัดจมูก อาการภูมิแพ้อากาศยามเช้า หรือแดดเผาผิวในตอนกลางวัน ตลอดจนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต โรคไขมัน เป็นต้น ซึ่งในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ยังมีการนำสมุนไพรไทยมาใช้ทั้งเพื่อป้องกัน รักษา

Read More »
จตุผลาธิกะ
Admin SMD

ตำรับยา “จตุผลาธิกะ” ยาอายุวัฒนะของแพทย์แผนไทยที่หลายคนยังไม่รู้จัก

1 กันยายน พ.ศ.2565 บทความโดย อาจารย์ปาลิกา เวชกุลสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์แผนไทยประยุกต์สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ “การไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” ไม่ว่าจะเป็นโรคทางกาย หรือโรคทางใจ ล้วนแต่ไม่มีใครอยากจะมีหรือเป็นด้วยกันทั้งนั้น สังคมในปัจจุบันจึงพยายามค้นหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อป้องกัน รักษา ฟื้นฟูให้ทั้งกายใจยังคงแข็งแรงอยู่เสมอ โดยความเสื่อมของร่างกายมีสาเหตุมาจากหลายประการ หนึ่งในสาเหตุที่สำคัญ และเรารู้จักกันดี เรียกว่า สารอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสารที่สามารถเกิดขึ้นเองได้ภายในร่างกายจากกระบวนการทำงานของเซลล์ และรับมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอก แม้ว่าร่างกายเราจะสามารถกำจัดสารอนุมูลอิสระได้บ้าง

Read More »
Admin SMD

เขย่งก้าวกระโดดอย่างไรให้ไปไกลถึงโอลิมปิก

1 สิงหาคม พ.ศ.2565 บทความโดย อาจารย์ ดร.วัชรี ฤทธิวัชร์สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกายสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เขย่งก้าวกระโดด (Triple jump) เป็นกีฬากรีฑา (Athletics) ประเภทลาน (Field even) ซึ่งมีการเคลื่อนไหวและทักษะที่ซับซ้อน (Complex movement) มีแรงกระแทกสูง (High impact) และท้าทายที่สุด การเคลื่อนไหวแต่ละครั้งต้องประสานสัมพันธ์กัน (Coordination) และใช้ความสมดุลสูง

Read More »
Paracetamol
Admin SMD

กินยาพาราเซตามอลมากไปส่งผลเสียต่อความจำหรือไม่

1 กรกฎาคม 2565 บทวามโดย อาจารย์ ดร.ลัดดาวรรณ ละเลิศสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ยาพาราเซตามอล คือ ยาบรรเทาปวดและลดไข้ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก เนื่องจากยานี้ได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัยสูง อีกทั้งยังมีราคาถูกและหาซื้อได้ง่ายตามร้านขายยาทั่วไปโดยไม่จำเป็นต้องมีใบสั่งยาจากแพทย์ จึงทำให้ยาพาราเซตามอลกลายเป็นยาสามัญประจำบ้านที่หลายๆ คนต่างรู้จักนั่นเอง แม้ว่ายาพาราเซตามอลถูกนำมาใช้เป็นเวลายาวนานกว่า 100 ปี แต่กลไกลการออกฤทธิ์ของยานี้กลับยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด อย่างไรก็ตาม งานวิจัยที่ผ่านมาเชื่อว่ายาพาราเซตามอลมีกลไกการออกฤทธิ์ในการบรรเทาปวดและลดไข้โดยการเข้าไปปรับเปลี่ยนสารเคมีและโปรตีนตัวรับหลายชนิดในระบบประสาท เช่น ซีโรโทนิน โอพิออยด์

Read More »
Neck pain
Admin SMD

“Tech neck pain”ศัพท์ชื่อใหม่สำหรับปัญหาเก่า

1 มิถุนายน 2565 บทความโดย อาจารย์ กุลวดี กาญจนะสำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ “Tech neck pain” ศัพท์ชื่อใหม่สำหรับปัญหาเก่า Tech neck pain คืออะไรนั้น ก่อนอื่น ลองมองไปรอบตัว ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะพบแต่ผู้คนใช้สื่อดิจิทัลในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าเป็นการใช้โทรศัพท์ แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์แทบทุกกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ทั้งที่บ้าน ที่ทำงาน บนท้องถนน

Read More »
แพทย์แผนไทยประยุกต์
Admin SMD

แพทย์แผนไทยประยุกต์ฯ หลักสูตรใหม่ของ มวล. เป็นอย่างไร มาดูกัน…

1 พฤษภาคม 2565 บทความโดย ผศ.ดร.กิ่งกาญจน์ บรรลือพืช  หัวหน้าสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์สำนักวิชาแพทยศาตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564)  มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นสถาบันการศึกษาที่เป็นแหล่งเรียนรู้ คู่การปฏิบัติ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ คู่คุณธรรมจริยธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อสังคม  และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ สามารถปฏิบัติงานร่วมกับสหวิชาชีพได้ โดยหลักสูตรเน้นการผลิตบัณฑิตทางด้านการแพทย์แผนไทยประยุกต์ยุคใหม่ ที่สามารถดูแลรักษาสุขภาพประชาชนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยทั้ง 4 ด้านได้อย่างเชี่ยวชาญ และมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นในการมีทักษะการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้

Read More »
April 2024
M T W T F S S
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
2930  

บทความยอดนิยม

Auction Online Computer Concept
สรุปครบ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 [ฉบับล่าสุด] : มีกี่หมวด กี่มาตรา ตัวอย่างการกระทำผิด พร้อมบทลงโทษ
 (4)
6 พันธุ์แมวยอดฮิต น่ารัก น่าเลี้ยง
aspect ratio
อัตราส่วนภาพคืออะไร?
Copy of Add a subheading
"มันหนึบ" ของกินเล่น...ที่ไม่ใช่เล่น ๆ
ตั้งค่าปุ่มเปลี่ยนภาษาใน Windows11
เปลี่ยนภาษาใน Windows 11 ไม่ได้เหรอ!!! ตามเรามาสิ