Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มีหัวใจแต่ใช้ได้ไม่เท่ากัน
Chaiwat Poungklung

มีหัวใจแต่ใช้ได้ไม่เท่ากัน

มีหัวใจแต่ใช้ได้ไม่เท่ากัน ดูหัวข้อแล้วอาจจะดูงง ๆ ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะนำทุกท่านมารู้จักกับหัวใจของสัตว์ชนิดต่าง ๆ กัน พร้อมแล้วก็ไปเรียนรู้กันได้เลย ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org สัตว์ที่มีหัวใจหนึ่งดวงเท่ากัน แต่ไม่ได้แปลว่าจะมีหัวใจ 4 ห้องเหมือนกับคนเราหรอกนะ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดก็มีระบบหมุนเวียนเลือดที่แตกต่างกันออกไปดังต่อไปนี้ สัตว์จำพวกปลา มีหัวใจ 2 ห้อง ห้องบน (Atrium) ทำหน้าที่นำเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่าง (Ventricle) ส่วนหัวใจห้องล่าง

Read More »
เฉลย…ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน
Chaiwat Poungklung

เฉลย…ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน

ปัญหาโลกแตกที่ถูกพูดถึงกันมาอย่างยาวนานจากรุ่นสู่รุ่น ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ขอเขียนถึงว่าในมุมมองของทางด้านวิทยาศาสตร์มองเรื่องนี้ว่าอย่างไร เราไปศึกษากันได้เลย ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org “ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน” หนึ่งในปัญหาโลกแตกที่เรามักถูกถามกันเล่นในทุกยุคทุกสมัย และมีหลากหลายคำตอบที่เคยได้ยิน แต่วันนี้ วิทยาศาสตร์มีคำตอบของปัญหานี้ให้กับเราแล้ว ลองมาดูกันว่า ไก่กับไข่อะไรเกิดก่อนกันแน่ ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Sheffield และ Warwick ในประเทศอังกฤษ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ที่สามารถวิเคราะห์โครงสร้างโมเลกุลของเปลือกไข่ และค้นพบโปรตีน Ovocledidin-17

Read More »
รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV)
Chaiwat Poungklung

รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV)

เทรนกำลังมา รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV) รถยนต์พลังงานทางเลือกที่ใช้พลังงานสะอาด และเป็นที่คาดการณ์ว่าในอนาคตจะมาแทนรถยนต์น้ำมัน ซึ่งตอนนี้ได้มีออกมาจำหน่ายและก็ใช้งานกันอย่างแพร่หลายและมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะขอนำทุกท่านมาทำความรู้จักกับรถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle : EV) ให้มากขึ้น ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org รถยนต์ไฟฟ้าเริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญในยุคปัจจุบัน ทดแทนรถยนต์ที่ขับเคลื่อนโดยใช้แหล่งพลังงานจากการเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิงที่ก่อให้เกิดมลพิษต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งน้ำมันดิบเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่นับวันจะหมดไปเรื่อย

Read More »
ไขมันทรานส์ ภัยร้ายใกล้ตัว
Chaiwat Poungklung

ไขมันทรานส์ ภัยร้ายใกล้ตัว

ไขมันทรานส์ ภัยร้ายใกล้ตัว ที่ทุกคนอาจคิดไม่ถึงและไม่รู้ตัวว่าได้บริโภคอยู่เป็นประจำ ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะขอเขียนถึงไขมันทรานส์ ภัยร้ายใกล้ตัว เพื่อให้ทุกท่านได้รู้จักและหลีกเลี่ยง ไปทำความรู้จักกันเลย ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org ไขมัน (Fat) เป็นสารที่เกิดจากสารประกอบหลายชนิดร่วมกัน สามารถละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์แต่ไม่ละลายน้ำ ไขมันเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายแต่ต้องได้รับในปริมาณที่พอดีเท่านั้น หากได้รับในปริมาณมากจนเกินไปจะส่งผลเสียต่อร่างกาย เช่น น้ำหนักเกิน โรคอ้วน และไขมันอุดตันในหลอดเลือด ไขมันชนิดทรานส์ (Trans Fat) หรือที่เราเรียกกันว่า

Read More »
เคล็ดลับการกินที่ช่วยลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์
Chaiwat Poungklung

เคล็ดลับการกินที่ช่วยลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์

ในปัจจุบันนี้ทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญกับการลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นอย่างมาก หลาย ๆ ประเทศและองค์กรต่าง ๆ ได้มีนโยบาลขับเคลื่อนการดำเนินการในเรื่องนี้ ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะขอกล่าวถึงอีก 1 เคล็ดลับที่ทุกท่านสามารถทำได้ง่าย ๆ ในการช่วยลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์นั่นก็คือเคล็ดลับการกินที่ช่วยลดปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ เราไปเรียนรู้ในการที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการที่จะช่วยโลกนี้กันเลย ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org คาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) หมายถึง ปริมาณแก๊สเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์แต่ละหน่วย ตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การประกอบชิ้นส่วน การใช้งานและการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน

Read More »
IoT คืออะไร ใครรู้บ้าง
Chaiwat Poungklung

IoT คืออะไร ใครรู้บ้าง

IoT คำย่อนี้ผู้เขียนเชื่อว่าทุกท่านคงเคยได้ยินหรือเห็นผ่านตากันมาบ้าง แต่ IoT คืออะไร? เชื่อว่ายังมีอีกหลายท่านที่ยังไม่ทราบและไม่รู้จัก ไปหาคำตอบพร้อมกัน ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กันเลย ขอบคุณภาพจาก https://sciplanet.org Internet of Things (IoT) หมายถึง “สิ่ง” จำนวนมากมายที่เชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ต หรือหมายถึงการเชื่อมโยงของอุปกรณ์อัจฉริยะทั้งหลายผ่านอินเทอร์เน็ตเพื่อให้สามารถแบ่งปันข้อมูลกับสิ่งต่าง ๆ และนำเทคโนโลยีนี้เข้ามาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกมากยิ่งขึ้น ในบทความนี้เราจะพาไปทำความรู้จักกับอุปกรณ์ IoT

Read More »
พลาสติกย่อยสลายได้
Chaiwat Poungklung

พลาสติกย่อยสลายได้

พลาสติกเป็นวัสดุที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีราคาถูก และสามารถปรับปรุงสมบัติได้อย่างหลากหลายเพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน เช่น บรรจุภัณฑ์ เส้นใยสังเคราะห์ ทำให้มีการผลิตพลาสติกออกมาเป็นจำนวนมาก และก่อให้เกิดปัญหาขยะพลาสติกตามมา ในบทความนี้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะขอเขียนถึงพลาสติกย่อยสลายได้ว่ามีประโยชน์อย่างไร เราไปเรียนรู้กันเลย ขยะพลาสติกกลายเป็นสิ่งที่สังคมโลกให้ความสนใจ เนื่องจากพลาสติกบางชนิดไม่ย่อยสลายในธรรมชาติ หรือใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายยาวนาน ขยะพลาสติกบางชนิดใช้เวลาในการย่อยสลายมากกว่าร้อยปีในการย่อยสลาย จึงเกิดการตกค้างในธรรมชาติส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหาร โดยเฉพาะกับสัตว์ทะเล นอกจากนี้ ยังมีการตรวจพบ “อนุภาคพลาสดิกขนาดเล็กหรือไมโครพลาสติก (Microplastics)” ในท้องของสัตว์ทะเล โดยไมโครพลาสติกชิ้นเล็กระดับไมโครเมตรที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เกิดจากการแตกสลายของขยะพลาสติก

Read More »
การศึกษาลูกน้ำยุงกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
Chaiwat Poungklung

การศึกษาลูกน้ำยุงกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อสุขอนามัยและโรคระบาดส่งผลให้คนทั่วโลกกังวลเป็นอย่างมาก เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นส่งผลให้เชื้อโรค หรือพาหะนำโรคบางชนิดเจริญได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การที่โลกของเรามีการสื่อสารกันได้รวดเร็วทำให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น สำหรับประเทศไทยปัญหาการเกิดโรคอุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious disease : REID) ที่สำคัญโรคหนึ่งที่เป็นปัญหาสาธารณสุขอันดับต้น ๆ คือ โรคไข้เลือดออก และมาลาเรีย ซึ่งมีพาหะนำโรค คือ ยุง สำหรับยุงก็เป็นพาหะนำโรคชนิดหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้วย โดยลูกน้ำยุงจะพัฒนากลายเป็นยุงที่โตเต็มวัยเร็วขึ้นออกหากินถี่ขึ้น ออกไข่เร็วขึ้น บินได้ไกลขึ้น ทำให้โอกาสในการเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะเกิดได้เร็วและบ่อยครั้งขึ้น โดยจะเห็นได้จากข่าวการแพร่ระบาดของโรคในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง ในบทความนี้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Read More »
เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
Chaiwat Poungklung

เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

เพื่อน ๆ ที่มีเตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำอยู่ที่บ้าน เคยสงสัยกันรึเปล่าว่า เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำทำให้อาหารสุกได้อย่างไร? แล้วถ้าตอกไข่ใส่บนเตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำโดยตรง ไข่จะสุกหรือไม่? ไปหาคำตอบพร้อมกัน ในบทความนี้ของศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ กันเลย ขอบคุณภาพจาก https://www.scimath.org หลักการทำงานของเตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำ เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเหนี่ยวนำทำงานโดยให้กระแสไฟฟ้าสลับผ่านขดลวดที่อยู่ภายในเตา ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา ส่งผลให้เกิดการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นในภาชนะโลหะ เกิดกระแสไฟฟ้าวน (eddy current) กลับไป-มาที่ก้นภาชนะ ตามความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่ให้กับขดลวดภายในเตา ซึ่งกระแสไฟฟ้าวนนี้จะทำให้ภาชนะโลหะเกิดความร้อน ขอบคุณภาพจาก https://www.scimath.org

Read More »
หุ่นยนต์บังคับมือจากของเล่นกลายเป็น สื่อเรียนรู้
Chaiwat Poungklung

หุ่นยนต์บังคับมือจากของเล่นกลายเป็น สื่อเรียนรู้

ในวัยเด็กหลาย ๆ คนคงมีความสุขสนุกสนานกับการได้เล่นของนานาชนิด หลายชิ้นก็เล่นจนติด เล่นได้ทั้งวัน ของเล่นยอดฮิตตลอดกาลของเด็กชายชิ้นหนึ่งคือ รถบังคับแบบใช้สาย กดดินหน้า กดถอยหลัง กดให้วิ่งไปทางซ้าย ไปทางขวา แค่เห็นรถวิ่งไปมาได้ก็มีความสุขสนุกสนานแล้ว ตอนนั้นไม่ได้คิดว่าเล่นแล้วจะได้อะไร แค่สนุกก็พอแล้ว ในบทความนี้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะขอเขียนถึงการเปลี่ยนรถบังคับให้เป็นหุ่นยนต์กันว่ามีวิธีการอย่างไร เราไปเรียนรู้กันเลย รถบังคับทำงานอย่างไร ส่วนประกอบของรถบังคับแบบใช้สายก็ไม่มีอะไรมาก มีแค่ มอเตอร์ ฟันเฟืองทดรอบ แบตเตอรี่ ล้อ

Read More »
เม็ดเลือดแดง กับเม็ดเลือดขาว
Chaiwat Poungklung

สุขภาพดีด้วยดัชนีคณิตศาสตร์

การตรวจสุขภาพประจำปีเป็นสิ่งที่เราทุกคนควรทำอย่างสม่ำเสมอ เพราะแม้ร่างกายจะดูเหมือนว่ามีความสมบูรณ์แข็งแรง และไม่ได้มีอาการผิดปกติใด ๆ แต่การตรวจการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายอย่างละเอียดอาจทำให้เราพบปัญหาแต่เนิ่น ๆ ซึ่งจะนำไปสู่การป้องกันและรักษาโรคได้ทันเวลา ก่อนที่อาการของโรคจะลุกลามจนสายเกินไป การตรวจสุขภาพประจำปีในแต่ละครั้ง แพทย์จะแนะนำรายการตรวจต่าง ๆ ตามวัยของผู้ตรวจ ตามปกติแพทย์จะตรวจสภาพร่างกายภายนอกโดยทั่วไป ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะและอุจจาระ อาจรวมถึงการฉายรังสีเอกซ์และการทำอัลตราชาวด์เพื่อตรวจอวัยวะภายใน ในการตรวจร่างกายด้วยวิธีเหล่านี้จะมีการนำความรู้คณิตศาสตร์มาใช้อย่างหลากหลายรูปแบบ ตามจุดประสงค์ของการตรวจแต่ละรายการจึงเป็นตัวอย่างของการนำคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตที่น่าสนใจมากอีกกรณีหนึ่ง บทความนี้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะแสดงตัวอย่างการนำคณิตศาสตร์ไปใช้ในการตรวจสุขภาพประจำปี ซึ่งมีการวัดปริมาณที่มีหลากหลายรูปแบบ เพื่อเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานซึ่งคำนวณได้จากผู้ที่มีสุขภาพปกติ

Read More »
เมื่อสีที่เห็นไม่เป็นอย่างที่คิด (แสงสีและการมองเห็น)
Chaiwat Poungklung

เมื่อสีที่เห็นไม่เป็นอย่างที่คิด (แสงสีและการมองเห็น)

ท่านเคยมีประสบการณ์ในการซื้อของที่ท่านคิดว่ามีสีสันสวยงามจากร้านค้า แต่พอกลับมาถึงบ้านหรือเพียงแค่นำของออกมาจากร้านค้า สีของของชิ้นนั้นกลับไม่เป็นอย่างที่คิดหรือไม่ บทความนี้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จะช่วยให้ท่านเข้าใจว่าทำไมสีของของที่ท่านคิดว่าสวยงามเมื่อเห็นในร้านค้าจึงไม่สวยงามเหมือนที่ท่านคิดเมื่ออยู่นอกร้านค้า แสงเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงที่จะกล่าวถึงในบทนี้ คือ แสงที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (visible light) หรือที่เรียกว่า “แสงขาว”(white light) แสงดังกล่าวประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ (frequency) ต่าง ๆ เรียงกันเป็นแถบ เรียก “สเปกตรัม” (ดูรูปที่ 1 ส่วนที่วงด้วยเส้นประ)

Read More »
April 2024
M T W T F S S
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
2930  

บทความยอดนิยม

Auction Online Computer Concept
สรุปครบ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 [ฉบับล่าสุด] : มีกี่หมวด กี่มาตรา ตัวอย่างการกระทำผิด พร้อมบทลงโทษ
 (4)
6 พันธุ์แมวยอดฮิต น่ารัก น่าเลี้ยง
aspect ratio
อัตราส่วนภาพคืออะไร?
Copy of Add a subheading
"มันหนึบ" ของกินเล่น...ที่ไม่ใช่เล่น ๆ
ตั้งค่าปุ่มเปลี่ยนภาษาใน Windows11
เปลี่ยนภาษาใน Windows 11 ไม่ได้เหรอ!!! ตามเรามาสิ