Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: สำนักวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์

Roonglawan Nakan

รีวิวหนังสือ Socrates and Self-Knowledge ของ Christopher Moore

รีวิวหนังสือ Socrates and Self-Knowledge ของ Christopher Moore ผู้เขียนเสนอประเด็นที่ striking มาก ว่า know-thyself หรือการรู้จักตนเองแบบโสเกรติสนั้น ไม่ใช่เรื่องของการค้นหาตัวตนเพื่อให้ตัวเองตระหนักถึงสิ่งที่ตนเป็นจริงๆ เพราะต้องไม่ลืมว่า self เป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับบริบทเฉพาะที่เปลี่ยนแปลงได้เสมอ ขณะที่ความรู้ (หรือสิงที่เรารู้ได้) ตามคติของกรีกโบราณ ต้องเป็นสิ่งที่ timeless เป็น universal ไม่เปลี่ยนแปลง

Read More »
Roonglawan Nakan

“บ่อขยะหมู่ 6”: ปัญหาและข้อสังเกต

“บ่อขยะหมู่ 6” เป็นบ่อขยะแห่งเดียวในตำบล ก. อำเภอ ข. จังหวัดนครศรีธรรมราช (ด้วยเหตุผลความละเอียดอ่อนของปัญหาขยะและการจัดการ บทความขนาดสั้นชิ้นนี้จึงปกปิดชื่อของหน่วยงานบริหารและองค์การปกครองที่เกี่ยวข้อง) ตั้งอยู่บนตีนเขาติดกับเขตจังหวัดตรัง ใกล้บ้านของหนึ่งในผู้เขียน ซึ่งก็ได้เติบโตมาพร้อมๆ กับบ่อขยะแห่งนี้ที่มีขนาดใหญ่โตขึ้นทุกวัน รองรับขยะจำนวนมหาศาลซึ่งเพิ่มปริมาณเนื่องจากการขยายตัวของอำเภอ การที่มีบ่อขยะอยู่ในหมู่บ้านเล็กๆ ได้ส่งผลต่อทั้งผู้คนและธรรมชาติ บ่อขยะแบบฝังกลบที่ได้รับการจัดการไม่ดีพอ และพลาสติกที่ต้องใช้เวลามากกว่าชั่วอายุคนในการย่อยสลาย ย่อมส่งผลกระทบไปอีกนานแสนนาน แต่เรื่องราวของบ่อขยะยังมีอะไรมากกว่านั้น   วิถีชีวิตของหมู่บ้านก่อนการสร้างบ่อขยะ หมู่ 6 ตำบล

Read More »
Roonglawan Nakan

Stoicism: Virtue and the Therapy of Grief ปรัชญาสโตอิก คุณธรรมกับการบำบัดความเศร้าในชีวิต

Stoicism: Virtue and the Therapy of Grief ปรัชญาสโตอิก คุณธรรมกับการบำบัดความเศร้าในชีวิต ปรัชญาสำนักสโตอิกหรือ stoicism เป็นกลุ่มปรัชญาที่ก่อตั้งในช่วง 300 ปีก่อนคริสต์กาลในนครเอเธนส์โดยนักปรัชญาชื่อเซโนแห่งไซติอุม กลุ่มนักปรัชญาสโตอิกนี้ ถือเป็นกลุ่มปรัชญาที่มีบทบาทสำคัญกระทั่งมีการกล่าวกันว่าเป็นสำนักปรัชญาที่ทรงอิทธิพลที่สุดในยุคโบราณนับตั้งแต่อสัญกรรมของอริสโตเติลเรื่อยมาจนถึงยุครุ่งเรืองของจักรวรรด์โรมัน นักปรัชญาที่โด่งดังในสำนักนี้ได้แก่ ซิเซโร่, เซเนก้า, และจักรพรรดิมาร์คัส ออเรลิอุส ฯลฯ เป็นต้น ส่วนเนื้อหาคำสอนของปรัชญาสำนักนี้ก็จะประกอบด้วยหลากหลายประเด็น ตั้งแต่อภิปรัชญา

Read More »
Peeraya Hongsopa

VUCA World

VUCA เป็นตัวย่อที่ย่อมาจากคำศัพท์ Volatility, Uncertainty, Complexity และ Ambiguity ซึ่งคำนี้มีต้นกำเนิดในบริบททางทหารและต่อมาถูกนำมาใช้โดยผู้นำทางธุรกิจและนักยุทธศาสตร์เพื่ออธิบายถึงธรรมชาติที่ท้าทายและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกสมัยใหม่ โดยแต่ละองค์ประกอบของ VUCA แสดงถึงลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันของสภาพแวดล้อมที่องค์กรและบุคคลจะต้องดำเนินการ ซึ่งได้แก่ ความผันผวน หมายถึง ความเร็วและขนาดของการเปลี่ยนแปลงในโลกที่ผันผวน สภาวะต่างๆ สามารถผันผวนอย่างรวดเร็วและคาดเดาไม่ได้ ทำให้คาดการณ์และวางแผนสำหรับอนาคตได้ยาก ความไม่แน่นอน อธิบายถึงการขาดการคาดการณ์และการมีอยู่ของข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ ความไม่แน่นอนทำให้การประเมินความเสี่ยงและการตัดสินใจเป็นเรื่องท้าทาย ความซับซ้อน แสดงถึงลักษณะที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงถึงกันของปัญหาและระบบ โดยความซับซ้อนเกิดขึ้นจากปัจจัย ความสัมพันธ์

Read More »
Peeraya Hongsopa

DNA ของผู้นำที่มีประสิทธิภาพ

เขียนโดย ผศ.รัชฎาทิพย์ อุปถัมประชา รักษาการแทนรองคณบดีสำนักวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ เมื่อนึกถึง “อนาคตของงาน” จะเริ่มจากการมองที่ภายนอกโดยเริ่มต้นจากสิ่งแวดล้อมจากภายนอกมาสู่ภายใน เป็นคุณค่าที่กำหนดโดยผู้รับ แล้วเข้ามาสู่ภายในคือความสามารถของมนุษย์ หรือจะเริ่มจากความสามารถของมนุษย์ซึ่งเป็นภายใน ซึ่งเป็นการสร้างจุดแข็งของเราเพื่อเสริมสร้างผู้อื่นแล้วไปสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก ดังนั้นผู้นำจึงควรเป็นบุคคลที่สร้างคุณค่าให้ผู้อื่น จะเป็นการตระหนักถึงความท้าทายตามบริบทที่จะสร้างความสามารถของมนุษย์ DNA ของผู้นำที่มีประสิทธิภาพ 1. Human Capital developer ส่งเสริมคนรุ่นต่อไปด้วยการทำให้ผู้อื่นรู้สึกดีกับตัวเองมากขึ้น  เน้นกลยุทธ์ระยะยาว 2. Strategist สร้างความมั่นใจในกลยุทธ์ในอนาคตโดยกำหนดวิสัยทัศน์/พันธกิจที่น่าสนใจ 3. Talent manager ใช้ชีวิตด้วยความเห็นอกเห็นใจ มีอารมณ์เชิงบวกมีพลังงานชีวิต สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ  4. Executor ทำตามสัญญาด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี 5. Personal proficiency ดูแลตัวเองเพื่อที่คุณจะดูแลคนอื่นได้ เป็นการลงทุนในตัวเอง  สมรรถนะในการเป็นผู้นำ การมุ่งผลลัพธ์ • ให้ผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยม • จัดลำดับความสำคัญของความรับผิดชอบ

Read More »
Peeraya Hongsopa

บันทึกการเดินทางเยือนอินโดนีเซีย, มิถุนายน 2565

ระหว่างวันที่ 1-12 มิถุนายน 2565 คณาจารย์สำนักวิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ ดร.สุรสิทธิ์ วชิรขจร คณบดี อาจารย์นฤมล กล้าทุกวัน รองคณบดี และอาจารย์เพ็ญศรี พานิช อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตร์/อาเซียนศึกษา ผู้สอนภาษาอินโดนีเซียและประสานงานด้านอินโดนีเซียศึกษา เดินทางเยือนมหาวิทยาลัยและหน่วยงานราชการในประเทศอินโดนีเซีย และพานักศึกษาหลักสูตรอาเซียนศึกษาจำนวน 10 คน ไปศึกษาในประเทศอินโดนีเซียเป็นระยะเวลา 6-10 เดือน

Read More »
Peeraya Hongsopa

Researcher in Focus ,Dr. Trin Aiyara

Today, Researcher in Focus had the chance to sit down and talk with Ajarn Dr. Trin Aiyara, a lecturer in charge of teaching courses in the Political Science Program’s International Relations Major.

Read More »
Peeraya Hongsopa

นักวิจัยในโฟกัส – อาจารย์ ดร. ตฤณ ไอยะรา

นักวิจัยในโฟกัส ครั้งนี้ได้มีโอกาสนั่งคุยกับอาจารย์ ดร. ตฤณ ไอยะรา อาจารย์ผู้ดูแลและรับผิดชอบสอนรายวิชาในกลุ่มวิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หลักสูตรรัฐศาสตร์

Read More »
March 2024
M T W T F S S
 123
45678910
11121314151617
18192021222324
25262728293031

บทความยอดนิยม

Auction Online Computer Concept
สรุปครบ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 [ฉบับล่าสุด] : มีกี่หมวด กี่มาตรา ตัวอย่างการกระทำผิด พร้อมบทลงโทษ
aspect ratio
อัตราส่วนภาพคืออะไร?
Copy of Add a subheading
"มันหนึบ" ของกินเล่น...ที่ไม่ใช่เล่น ๆ
 (4)
6 พันธุ์แมวยอดฮิต น่ารัก น่าเลี้ยง
ตั้งค่าปุ่มเปลี่ยนภาษาใน Windows11
เปลี่ยนภาษาใน Windows 11 ไม่ได้เหรอ!!! ตามเรามาสิ