ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) คืออะไร? เกี่ยวข้องแค่ไหนกับคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL)

หลังจากที่เราได้เล่าถึงความแตกต่างระหว่างกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศและกฏหมายสิทธิมนุษยชน หลายคนอาจสงสัยว่าหากมีการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศขึ้นมา จะมีการจัดการสอบสวน ลงโทษ หรือมีมาตรการอย่างไร และใครเป็นผู้เข้ามาทำหน้าที่ในส่วนนี้ บทความของเราจะมาไขข้อสงสัยในโพสต์เดียว
อาญชากรรมสงครามคืออะไร?
ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ หากมีการละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ(International Humanitarian Law – IHL) หรือที่เราเรียกกันว่าเป็น กฎหมายสงคราม
คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) เข้ามามีส่วนร่วมในการสืบสวนคดีที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรสงครามด้วยหรือไม่ และได้ทำการแชร์ข้อมูลกับ ICC ด้วยหรือเปล่า
ICC เป็นองค์กรที่เกิดขึ้นจากอนุสัญญาเจนีวาด้วยหรือเปล่า ICC และ ICRC มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่
ICC เป็นองค์กรที่แยกต่างหาก เกิดขึ้นจากการลงนามในสนธิสัญญากรุงโรม ดังนั้น การจะให้ ICC มีอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้องในทางคดีกับประเทศใดประเทศหนึ่ง ประเทศที่ว่านั้นจะต้องเข้าเป็นสมาชิกสนธิสัญญากรุงโรม โดย ICC มีอำนาจดำเนินคดี 4 ประเภท คือ 1. อาชญากรรมสงคราม 2. การทำลายล้างเผ่าพันธุ์ 3.อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ 4.การรุกราน
อ้างอิง
ICRC Blog | Thailand. (2022). ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) คืออะไร? เกี่ยวข้องแค่ไหนกับคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (ICRC) และกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (IHL). สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2566. จาก https://blogs.icrc.org/th/2022/09/22/icc-icrc-ihl/ICRC Blog | THAILAND Tweet