Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: ศูนย์บริการวิชาการ

หลักการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวมกับโมเดลต้นไม้แห่งความสุข (WU Happy Tree)
Grissada Srisavang

หลักการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวมกับโมเดลต้นไม้แห่งความสุข (WU Happy Tree)

          การดำเนินโครงการพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัยกับสังคม (social engagement) โดยใช้หลักการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองค์รวม (Holistic Area Based Community Development: HAB) ที่ตอบสนอง          ความต้องการของสังคม ผ่านกระบวนการบูรณาการระหว่างการวิจัยเชิงพื้นที่ บริการวิชาการ และการมีส่วนร่วมของชุมชน สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและของประเทศ เป็นหนึ่งในแนวทางการขับเคลื่อน  พันธกิจบริการวิชาการ ของศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Read More »
WU SDG MOVE
Grissada Srisavang

WU SDG MOVE

          SDGs ย่อมาจาก Sustainable Development Goals–SDGs หรือ “เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน” มีทั้งหมด 17 เป้าหมาย (Goals) ภายใต้หนึ่งเป้าหมายจะประกอบไปด้วยเป้าหมายย่อย ๆ ที่เรียกว่า เป้าหมายย่อย (Targets) ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 169 เป้าหมายย่อย และพัฒนา

Read More »
Grissada Srisavang

Impact Rankings 2024

The Times Higher Education Impact Rankings measure global universities’ success in delivering the United Nations’ Sustainable Development Goals. The Times Higher Education Impact Rankings are the only

Read More »
การจัดอันดับ UI GreenMetric World University Rankings
Grissada Srisavang

การจัดอันดับ UI GreenMetric World University Rankings

          ในยุคที่ความยั่งยืนกลายเป็นประเด็นสำคัญทั่วโลก มหาวิทยาลัยมีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้นำทางด้าน การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยให้เป็น “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ไม่เพียงแค่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม แต่ยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและชุมชนในการเผชิญกับความท้าทายทางสิ่งแวดล้อมในอนาคต         UI GreenMetric World University Rankings เป็นการจัดอันดับที่ให้ความสำคัญกับความยั่งยืนในมหาวิทยาลัย โดยประเมินความพยายามของสถาบันการศึกษาทั่วโลกในการส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมตามตัวชี้วัด 6 ด้านสำคัญ ซึ่งแต่ละด้านเป็นเสาหลักที่ขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่ความยั่งยืนอย่างแท้จริง การจัดการสภาพแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐาน            การรักษาสมดุลระหว่างพื้นที่ธรรมชาติและสิ่งปลูกสร้างภายในมหาวิทยาลัยเป็นพื้นฐานสำคัญ

Read More »
Grissada Srisavang

การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ GI

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อันพึงรับขึ้นทะเบียนได้ ต้องประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ไม่เป็นชื่อสามัญของสินค้าที่จะใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 2. ไม่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือนโยบายแห่งรัฐ 3. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของต่างประเทศที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัตินี้ จะต้องแสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศนั้นและมีการใช้สืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ยื่นคำขอขึ้นทะเบียนในประเทศไทย 4. ต้องเป็นผู้มีสิทธิขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ตามที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.นี้ 5. คำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จะต้องประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะอื่นของสินค้าแหล่งภูมิศาสตร์และรายละเอียดอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง(พ.ร.บ. คุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ มาตรา 5 – 10) 6. ในกรณีคำขอมีข้อบกพร่องหรือเอกสารประกอบคำขอไม่ครบถ้วน เจ้าหน้าที่รับคำขอจะแจ้งให้ผู้ขอแก้ไขให้ถูกต้องหรือยื่นเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมในทันที หากผู้ขอไม่สามารถดำเนินการแก้ไขหรือยื่นเอกสารหลักฐานได้

Read More »
Grissada Srisavang

รู้จักของประเภทถังขยะกัน!

รู้จักของประเภทถังขยะกัน! 1. ถังขยะสำหรับขยะอินทรีย์ ขยะเปียก (สีเขียว) ขยะอินทรีย์ คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว เช่น เศษอาหาร เปลือกผลไม้ เศษผัก เนื้อสัตว์ เศษใบไม้แห้ง ประโยชน์จากการแยกขยะ : นำไปทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ใส่ต้นไม้ แปลงผักสวนครัวได้ 2. ถังขยะสำหรับขยะทั่วไป (สีน้ำเงิน) เป็นขยะที่มักจะย่อยสลายไม่ได้ หรือย่อยสลายยากแต่ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าต่อการรีไซเคิล จำเป็นต้องหาวิธีกำจัดอย่างถูกวิธี เช่น ซองขนม กล่องโฟม

Read More »
Krittayot Ritthijak

การรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจก

โครงการที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโครงการ T-VER และได้เริ่มดำเนินโครงการแล้ว ผู้พัฒนาโครงการจะต้องดำเนินการติดตามผล (Monitoring) การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามที่ได้เสนอไว้ในเอกสารข้อเสนอโครงการ (PDD) และจัดทำเป็นรายงานการติดตามประเมินผล (Monitoring Report) และจัดหาผู้ประเมินภายนอกฯ (VVB) เพื่อทำการทวนสอบ (Verification) ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลด/กักเก็บได้จากโครงการ หลังจากนั้น ผู้พัฒนาโครงการจะต้องรวบรวมเอกสารประกอบโครงการเพื่อส่งไปยัง อบก. เพื่อขอรับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนเครดิต) “TVERs” ต่อไป อบก. กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณารับรองปริมาณก๊าซเรือนกระจก จำนวน

Read More »
Krittayot Ritthijak

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์อย่างต่อเนื่องทั้งการใช้พลังงาน การเกษตรกรรม การพัฒนาและการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การขนส่ง การตัดไม้ทำลายป่า รวมทั้งการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในรูปแบบอื่น ๆ ล้วนเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดภาวะโลกร้อน และนับวันปัญหาดังกล่าวก็ยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น จากผลกระทบของภาวะโลกร้อน ทำให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกตื่นตัวในการดำเนินงานเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร1 (Carbon Footprint for Organization หรือ Corporate Carbon Footprint: CCF) เป็นวิธีการประเภทหนึ่งในการแสดงข้อมูลปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยจากการดำเนินงานขององค์กร อันจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางการบริหาร

Read More »
Krittayot Ritthijak

คาร์บอนเครดิต

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. อธิบายว่า คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) คือ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลด/กักเก็บ ได้จากการทำโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแบบ “Project Base” หรือในระดับโครงการ เป็นกลไก “ภาคสมัครใจ” มีหน่วยเป็น “ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า” เช่น โครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ โครงการผลิตพลังงานความร้อนโดยใช้เชื้อเพลิงชีวมวล โครงการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน โครงการปลูกป่าไม้และอนุรักษ์ป่า

Read More »
Krittayot Ritthijak

การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (สินค้า GI)

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์อันพึงรับขึ้นทะเบียนได้ ต้องประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ไม่เป็นชื่อสามัญของสินค้าที่จะใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ 2. ไม่เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือนโยบายแห่งรัฐ 3. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ของต่างประเทศที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัตินี้ จะต้องแสดงหลักฐานที่ชัดเจนว่าเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายของประเทศนั้นและมีการใช้สืบเนื่องตลอดมาจนถึงวันที่ยื่นคำขอขึ้นทะเบียนในประเทศไทย 4. ต้องเป็นผู้มีสิทธิขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ตามที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.นี้ 5. คำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์จะต้องประกอบด้วยรายละเอียดเกี่ยวกับคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะอื่นของสินค้าแหล่งภูมิศาสตร์และรายละเอียดอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง (พ.ร.บ. คุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ มาตรา 5 – 10) 6. ในกรณีคำขอมีข้อบกพร่องหรือเอกสารประกอบคำขอไม่ครบถ้วน เจ้าหน้าที่รับคำขอจะแจ้งให้ผู้ขอแก้ไขให้ถูกต้องหรือยื่นเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมในทันที

Read More »
Krittayot Ritthijak

7 เทคโนโลยีเปลี่ยนอนาคตมนุษย์ในอีก 10 ปีข้างหน้า

เคยคิดสงสัยหรือไม่ว่าเทคโนโลยีในอนาคต 10 ปี ข้างหน้าจะเป็นอย่างไร? โลกจะเปลี่ยนแปลงไปขนาดไหน รวมถึงสิ่งที่เราเคยเห็นจากภาพยนตร์ที่พูดถึงอนาคตพร้อมสิ่งประดิษฐ์สุดล้ำนั้นจะมีอะไรที่เป็นไปได้บ้าง หลายเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มีมานานแล้ว ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทในชีวิตของเรามากขึ้นจนเกิดความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าที่รวดเร็ว จะมีเทคโนโลยีไหนที่น่าสนใจบ้างในบทความนี้จะเล่าให้ฟัง 1. ปัญญาประดิษฐ์และระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีแห่งอนาคตที่จะพัฒนาทุกสิ่งให้ล้ำสมัย มนุษย์เราอาจรู้จัก Artificial Intelligence (AI) หรือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และ เทคโนโลยี Automation หรือระบบอัตโนมัติกันมาเป็นเวลานาน แต่ในช่วงไม่กี่ปีมานี้เองที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว AI พัฒนาไวจนน่าจับตามอง ในช่วงปี 2021 เทคโนโลยี

Read More »
Krittayot Ritthijak

5 เคล็ดลับ เลือกฐานข้อมูลอย่างไรให้เหมาะสม

การเลือกฐานข้อมูลที่ผิดสำหรับแอปพลิเคชันที่ต้องใช้ข้อมูลจำนวนมาก เป็นเหมือนการเปิดประตูสู่ความท้าทายและความซับซ้อนให้เป็นทวีคูณทั้ง ๆ ที่ไม่จำเป็น เชื่อเถอะว่าเลือกฐานข้อมูลให้ถูกแล้วชีวิตจะง่ายขึ้น ( เลือกฐานข้อมูล อย่างไรให้เหมาะสม ) ฐานข้อมูลที่คุณเลือกในวันนี้จะส่งผลต่อแอปพลิเคชันและความพยายามในการพัฒนาของคุณในอนาคต ทว่าการเลือกฐานข้อมูลของนักพัฒนามักเป็นการตัดสินใจทางด้านอารมณ์ และนักพัฒนามักเลือกฐานข้อมูลโดยพิจารณาจากสิ่งที่แอปพลิเคชันของตนต้องการในตอนเริ่มต้นเท่านั้น ส่วนใหญ่นักพัฒนาอาจจะใช้กึ๋นของตัวเองตัดสินใจ เพราะพวกเขาละเลยการวิเคราะห์ว่าฐานข้อมูลจะทำงานดีกับแอปพลิเคชันของพวกเขาในวันนี้และในอนาคตหรือไม่ นักพัฒนาอาจรู้สึกหนักใจที่ต้องเลือกว่าจะใช้ฐานข้อมูลตัวไหน เพราะมันมีอยู่มากมายซึ่งมันจะสร้างความชะงักงัน ตามด้วยวิธีเลือกฐานข้อมูลที่ต้องสอดคล้องว่าแอปพลิเคชันเริ่มต้นขึ้นอย่างไร แต่คุณไม่เคยรู้หรอกว่าแอปจะมีเคสการใช้งานทั้งหมดเป็นอย่างไร และความจริงก็คือการใช้งานในแอปพลิเคชันมักจะเริ่มต้นจากง่าย ๆ ก่อนจะซับซ้อนขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไปนักพัฒนาอาจเริ่มต้นด้วย PostgreSQL จากนั้นจึงเพิ่ม MongoDB

Read More »
July 2025
M T W T F S S
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
28293031  

บทความยอดนิยม