Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: สำนักวิชาสหเวชศาสตร์

Ariya Yeesunsong

เส้นทางของเลือดบริจาค : การแบ่งปันชีวิตผ่านการให้

เขียนและเรียบเรียง โดย : ผศ.ดร.นุรดีนา จารง สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ หลายคนมีประสบการณ์ในการบริจาคเลือด ด้วยวัตถุประสงค์สำคัญคือการทำบุญครั้งใหญ่ เป็นการต่อชีวิตและช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน  แต่เชื่อว่า ยังมีหลายๆคนที่ยังไม่เคยทราบว่าเลือดที่บริจาคไปแล้วนั้น มีเส้นทางและต้องผ่านกระบวนการอะไรบ้าง ก่อนที่จะนำไปให้กับผู้ที่ต้องการเลือดเพื่อรักษา แน่นอนว่าการรักษาโดยการให้เลือดนั้น เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่สามารถผลิตสิ่งที่เทียบเท่ากับโลหิตมนุษย์ได้ การบริจาคเลือดจึงถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก อย่างไรก็ตามเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่จะนำไปให้ผู้ป่วยนั้น ต้องมีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้รับ ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการทดสอบทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ในเลือดบริจาคทุกยูนิต ได้แก่ การตรวจหมู่เลือดระบบเอบีโอ อาร์เอช ด้วยวิธีมาตรฐาน

Read More »
Ariya Yeesunsong

หน้าแดงเพราะแพ้เธอ หรือว่าแพ้เหล้า

เขียนและเรียบเรียง โดย : อาจารย์ ดร.ชุติมา จั่นสกุล สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ เราเคยสงสัยไหมว่า ทำไมบางคนถึงหน้าแดงเวลาดื่มเหล้า?  วันนี้เรามีคำตอบให้กับอาการหน้าแดง หลังจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เราเรียกอาการเหล่านี้ว่า  Alcohol flush Reaction ซึ่งแต่ละคนจะแสดงอาการแพ้แอลกอฮอล์แตกต่างกัน เช่น หน้าแดง (flushing) ตัวแดง ตาแดง หรืออาจจะเป็นการแดงเฉพาะช่วงบน-หน้าอก หรือแดงทั้งตัวก็ได้หรือหัวใจเต้นเร็วร่วมด้วย โดยคำตอบของเรื่องนี้ มาจากพันธุกรรมนั่นเองค่ะ

Read More »
Ariya Yeesunsong

กายภาพบำบัดในผู้สูงอายุกายภาพบำบัด

กายภาพบำบัดกับผู้สูงอายุ ตอนที่ 1 เขียนและเรียบเรียง โดย : ผศ.ดร.จิรพัฒน์  นาวารัตน์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ ปัจจุบัน เชื่อว่าหลาย ๆ คนพบเจอผู้สูงอายุได้เพิ่มขึ้นในกิจกรรมหรือสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งไม่น่าแปลกใจเลยเพราะตั้งแต่ปี 2548 ประเทศไทยได้กลายเป็นสังคมสูงอายุแล้ว โดยในปี 2565 ที่ผ่านมา ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์” (Complete aged society)

Read More »
Ariya Yeesunsong

เทคนิคการแพทย์นอกห้องเรียน/นอกห้องแล็บ…การค้นหาโรคเชิงรุก??

โดย : ผศ.ดร.เพ็ญโฉม จันทร์หวาน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในปีล่าสุด พ.ศ. 2565 ทางทีมคณาจารย์ได้นำนักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 2 ไปจัดกิจกรรมบริการวิชาการเรื่องโรคพยาธิเข็มหมุด ณ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดท่าสูงบน ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดท่าสูง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระบัว โดยกิจกรรมประกอบด้วยการดำเนินการเก็บตัวอย่างด้วยวิธี Scotch tape technique การตรวจสไลด์พยาธิเข็มหมุดทางห้องปฏิบัติการภายใต้กล้องจุลทรรศน์ การให้ยารักษาโรคพยาธิเข็มหมุดแก่เด็กนักเรียนที่ตรวจพบการติดเชื้อ และการทำสื่อให้ความรู้ในการป้องกันดูแลให้เด็กห่างไกลโรคพยาธิแก่ทางคุณครูและผู้ปกครอง โดยประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดให้มีโครงการบริการวิชาการเรื่องโรคพยาธิเข็มหมุดนี้

Read More »
Ariya Yeesunsong

เคยสงสัยหรือไม่ว่า..หมู่เลือดของเราส่งผลต่อการเกิดโรคที่ต่างกันอย่างไร?

โดย อาจารย์ ดร.นวลพรรณ แสงเพชร หมู่เลือด ABO จำแนกตามจากการแสดงออกของแอนติเจน (A และ B) บนผิวเม็ดเลือดแดงร่วมกับการมีแอนติบอดีต่อแอนติเจนที่ไม่มีในซีรัม การแสดงออกของแอนติเจนควบคุมด้วยยีนสร้างเอนไซม์ N-acetylgalactosaminyl transferase และ galactosyl transferase นำน้ำตาลสำหรับสร้างแอนติเจน A และ B ตามลำดับมาเติมบนแอนติเจน H ที่ต่อกับโปรตีน (รวมเรียกว่า

Read More »
Ariya Yeesunsong

การทดสอบสารไล่ยุง (Mosquito Repellent Evaluation)

โดย อาจารย์ ดร.ชุติพงศ์ สุขคะนนท์ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ‘ยุง’ เป็นแมลงที่เป็นปัญหาของระบบสาธารณสุขทั่วโลก นอกจากสร้างความรำคาญแล้ว ยังเป็นพาหะของโรคติดเชื้อหลายชนิด เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย โรคเท้าช้าง ฯลฯ การควบคุมยุงพาหะจึงเป็นวิธีการสำคัญเพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว โดยวิธีการที่ง่ายที่สุด คือ การป้องกันไม่ให้ยุงกัดด้วย ‘สารไล่แมลง’ (repellent) ซึ่งในท้องตลาดมีผลิตภัณฑ์ไล่แมลงวางจำหน่ายหลากหลายรูปแบบ โดยอาจเป็นสารเคมี หรือสารสกัดจากพืช อย่างไรก็ตาม

Read More »
Ariya Yeesunsong

IF สักที มีดีกว่าที่คิด

บทความโดย : รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ สมศักดิ์ รองคณบดีสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ คุณกำลังประสบปัญหานี้อยู่หรือไม่ “ออกกำลังกายทุกวัน…แต่ก็ยังไม่ผอม” “ควบคุมอาหารก็แล้ว…แต่ก็ยังอ้วน” “นั่งทำงานทั้งวันไม่มีเวลาไปยิม” “ทำงานหนัก เหนื่อย เครียด….กิน กิน กิน และอ้วนลงพุง” “ยาที่ว่าดีลองมาหมดก็ไม่ลดสักที แถมยังเกิดโยโย่” หากวันนี้เรามีวิธีที่ทำให้ผอมโดยไม่ต้องออกกำลังกาย ไม่ต้องเสียเวลา ผอมจริงแถมสุขภาพดี อ่อนเยาว์กว่าวัย และยังมีงานวิจัยที่รองรับเชื่อถือได้จากนานาชาติ เราขอเสนอ

Read More »
Ariya Yeesunsong

เคล็ด (ไม่) ลับกับกายภาพบำบัดทางระบบประสาท : ตอนที่ 2

บทความโดย ผศ.จิรพัฒน์ นาวารัตน์อาจารย์สาขากายภาพบำบัดสำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สิ่งหนึ่งที่ท้าทายนักกายภาพบำบัดคือการออกแบบโปรแกรมการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มการทรงตัวให้กับผู้ที่มีความบกพร่อง เนื่องจากอะไรนะเหรอครับ เพราะว่าการควบคุมการทรงตัวนั้นขึ้นอยู่กับหลายองค์ประกอบ หากเราตรวจรู้ว่า เอ๊ะ คนนั้นคนนี้มีปัญหาการทรงตัวจากสาเหตุอะไร เราก็จะสามารถออกแบบโปรแกรมได้อย่างจำเพาะ (Specific program) วันนี้เลยจะมาทบทวนให้ทุกคนอีกครั้งครับว่า การควบคุมการทรงตัวมีองค์ประกอบอะไรบ้าง Musculoskeletal components ระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้าง เช่น ความแข็งแรง ความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ องศาการเคลื่อนไหว รวมไปถึงการวางตัวของแนวของข้อต่อ ก็มีผลกับการทรงตัวเช่นกัน Neuromuscular

Read More »
Ariya Yeesunsong

เคล็ด (ไม่) ลับกับกายภาพบำบัดทางระบบประสาท : ตอนที่ 1

การกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อกระดกเท้าในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก ผ่านการกระตุ้นการตอบสนองปฏิกิริยาอัตโนมัติในการรักษาสมดุลการทรงท่า

Read More »
April 2024
M T W T F S S
1234567
891011121314
15161718192021
22232425262728
2930  

บทความยอดนิยม

Auction Online Computer Concept
สรุปครบ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 [ฉบับล่าสุด] : มีกี่หมวด กี่มาตรา ตัวอย่างการกระทำผิด พร้อมบทลงโทษ
 (4)
6 พันธุ์แมวยอดฮิต น่ารัก น่าเลี้ยง
aspect ratio
อัตราส่วนภาพคืออะไร?
Copy of Add a subheading
"มันหนึบ" ของกินเล่น...ที่ไม่ใช่เล่น ๆ
ตั้งค่าปุ่มเปลี่ยนภาษาใน Windows11
เปลี่ยนภาษาใน Windows 11 ไม่ได้เหรอ!!! ตามเรามาสิ