Generic selectors
Exact matches only
Search in title
Search in content
Post Type Selectors

Tag: อุทยานพฤกษศาสตร์

Akarayut Rungsimuntuchat

บริหารโครงการอย่างไรให้…ปัง!

SUCCESS, TOGETHER บริหารโครงการอย่างไรให้…ปัง! จากแค่ “ทำให้เสร็จ” → สู่ “สร้างความเปลี่ยนแปลง” หลายคนมองว่า “การทำโครงการ” คือแค่วางแผน แล้วทำให้เสร็จตามกำหนด แต่นั่นอาจยังไม่ใช่เป้าหมายที่แท้จริง… เพราะโครงการที่ “ปัง” ไม่ได้จบที่เส้นชัย แต่มันควร “สร้างบางอย่าง” ให้เกิดขึ้นระหว่างทางอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงที่จับต้องได้ การเรียนรู้ร่วมกัน หรือความหมายใหม่ ๆ ต่อผู้คนที่เราทำเพื่อเขา การถ่ายทอดประสบการณ์ทำงานมากกว่า 30

Read More »
Akarayut Rungsimuntuchat

“เนื้อทราย” กวางน้อยแห่งธรรมชาติ สัตว์ป่าคุ้มครองที่ต้องรักษา

“เนื้อทราย” กวางน้อยแห่งธรรมชาติ                 เนื้อทรายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่มีขนาดกลาง ขนสีน้ำตาลเข้ม ด้านล่างลำตัวสีจางกว่า มีเขาเฉพาะในตัวผู้ข้างละ 3 กิ่ง ผลัดเขาทุกปี ลูกเกิดใหม่มีลายจุดขาวตามตัว ลายจะหายไปเมื่อโตขึ้น             

Read More »
Akarayut Rungsimuntuchat

เห็ดระโงก ไม่ชะโงกก็ไม่เห็น

ที่มาและความสำคัญ                 ฤดูฝนมาเยือนอีกครั้ง พื้นดินชุ่มชื้นเริ่มเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่ผลิบานอย่างเงียบ ๆ ใต้ร่มเงาไม้ใหญ่ ครั้งนี้เรามาสำรวจภายในอุทยานพฤกษศาสตร์ด้วยความตื่นเต้นว่าจะเจออะไรบ้าง ระหว่างก้าวเดินไปเพียงไม่กี่ก้าว สายตาก็สะดุดกับเห็ดชนิดหนึ่งที่มีสีเหลืองสดใส แอบงอกเงียบ ๆ ใต้โคนต้นยางนา หากไม่ชะโงกหรือก้มมองใกล้ ๆ ก็อาจจะพลาดสิ่งสวยงามและอาหารอันโอชะนี้ไปได้ เรามาทำความรู้จักเห็ดที่เจอนี้ไปพร้อม

Read More »
Akarayut Rungsimuntuchat

มวนลำไย

                เมื่อได้เดินลัดเลาะชมบรรยากาศในอุทยานพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เปลี่ยนบรรยากาศจากการดูต้นไม้ มาดูแมลงกันดีกว่า  ทำให้ได้พบกับ “มวนลำใย” เกาะอยู่หน้าทางขึ้นสำนักงานฝ่ายบริหารงานทั่วไป ชื่ออื่น : แมงแคง, แมงแกงชื่อสามัญ : Longan stink bugชื่อวิทยาศาสตร์ : 𝑇𝑒𝑠𝑠𝑎𝑟𝑎𝑡𝑜𝑚𝑎

Read More »
Eco Tourism
Akarayut Rungsimuntuchat

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นอย่างไร

การท่องเที่ยงเชิงนิเวศ เป็นอย่างไร… what is tourism…?                 ในสังคมปัจจุบันการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เกิดจากกระแสการพัฒนาหลักๆ คือ การเติบโต การขยายตัวของการค้า รวมไปถึงการแข่งขันระหว่างประเทศ กระแสการเจริญเติบโตก้าวหน้า ต่างๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

Read More »
เขียดงู (Caecilians) ตกลงเป็นเขียดหรือเป็นงู
Akarayut Rungsimuntuchat

เขียดงู (Caecilians) ตกลงเป็นเขียดหรือเป็นงู

ที่มาและความสำคัญ              จากการวางกับดักเพื่อดักจับงูในพื้นที่อุทยานพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อใช้ในงานวิจัย ผลพลอยได้จากการดักจับ พบสัตว์ติดกับดักหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นสัตว์วงศ์อึ่ง เช่น อึ่งอ่างบ้าน อึ่งอ่างมลายู อึ่งปุ่มหลังลาย อึ่งข้างดำ นอกจากนี้ยังพบ ตะขาบขายาว จิ้งเหลนบ้าน ติดกับดักด้วย และยังพบเขียดงู ซึ่งไม่ค่อยพบเห็นทั่วไป แต่พบตัวอย่างที่มาติดกับดัก

Read More »
Akarayut Rungsimuntuchat

แมลงปีกแข็งในกับดักผลไม้

แมลงปีกแข็งในกับดักผลไม้ มันตรินี สหกโร                 เมื่อเดือนเมษายนและมิถุนายน พ.ศ. 2566 ได้มีโอกาสสำรวจแมลงปีกแข็งที่เข้ามาใช้ประโยชน์จากซากผลไม้ ซึ่งพบแมลงปีกแข็งหลายชนิดในการสำรวจ จึงนำข้อมูลที่ได้มาเล่าสู่กันฟัง                

Read More »
สำรวจผีเสื้อกลางคืนในกับดักแสงไฟในอุทยานพฤกษศาสตร์
Akarayut Rungsimuntuchat

สำรวจผีเสื้อกลางคืนในกับดักแสงไฟในอุทยานพฤกษศาสตร์

สำรวจผีเสื้อกลางคืนในอุทยานพฤกษศาสตร์โดยใช้กับดักแสงไฟ ดรัลพร ยกแก้ว                 ผีเสื้อกลางคืน เป็นแมลงซึ่งมีความหลากหลายด้านจำนวนชนิด มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ ส่วนใหญ่ออกหากินในเวลากลางคืน ผีเสื้อกลางคืน มีลักษณะเด่น คือ ปีกคู่หน้าและคู่หลังซ้อนกันแบบแนบติดกัน เมื่อเวลาเกาะปีกจะขนานกับพื้น (ศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินี, 2553)

Read More »
สัตว์วงศ์อึ่ง (Mycrohylidae) ที่พบจากการวางกับดัก ในพื้นที่อุทยานพฤกษศาสตร์
Akarayut Rungsimuntuchat

สัตว์วงศ์อึ่ง (Mycrohylidae) ที่พบจากการวางกับดักในพื้นที่อุทยานพฤกษศาสตร์

ภาพแสดงพื้นที่และจุดวางกับดัก ที่มา : (กูเกิ้ล, ม.ป.ป.) ภาพแสดงกับดัก                 จากการวางกับดักเพื่อจับงูเป็นตัวอย่างในการศึกษาวิจัย โดยวางกับดักไว้ในเขตป่าอนุรักษ์ของอุทยานพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์  ผลพลอยได้จากการวางกับดักทำให้พบสัตว์หลายชนิดเข้ามาติดกับดัก เช่น ตะขาบขายาว กึ้งกือ  หอยทากสยาม จิ้งเหลน เขียดงูศุภชัย ทำการถ่ายรูปตัวอย่างไว้เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของสัตว์ที่พบในพื้นที่อุทยานพฤกษศาสตร์

Read More »
Akarayut Rungsimuntuchat

เจตมูลเพลิงแดง & เจตมูลเพลิงขาว

ที่มาและความสำคัญ แฝดคนละฝา  ที่มีฤทธิ์ร้อนแรง เจตมูลเพลิงแดง & เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง (Plumbago indica L.) และเจตมูลเพลิงขาว (Plumbago zeylanica L.) จัดอยู่ในวงศ์ PLUMBAGINACEAE  ทั้งสองชนิดนี้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย  แต่ก็มีไม่น้อยที่เกิดความสับสนจากหน้าตาที่มีความคล้ายกันราวกับฝาแฝด ถ้าหากคุณเป็นหนึ่งในหลายคนที่กำลังงุนงง สับสนอยู่กับสองต้นนี้ นางจีรังกานต์  ปักเข็ม 6 ต.ค. 2566

Read More »
July 2025
M T W T F S S
 123456
78910111213
14151617181920
21222324252627
28293031  

บทความยอดนิยม